เมื่อเราได้สัดส่วนอาหาร ที่ควรทานต่อวันแล้ว
ตัวอย่างอาหารทางการแพทย์สูตรครบถ้วน
ซึ่งคนดูแลหรือตัวผู้ป่วยก็ต้องขยัน ในการปรุงอาหารกันสักหน่อย
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย สิฏฐิณิศา รัชตวโรทัย
คุณออมจบคณะวิทยาศาสตร์ เอกการกำหนดอาหารและโภชนบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้ผ่านการสอบและขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขากำหนดอาหาร และมีประสบการณ์ทำงานในธุรกิจด้านอาหารสำหรับผู้ป่วยเฉพาะโรค เช่น โรคไตเสื่อม โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคความดันโลหิต ฯลฯ รวมไปถึงให้คำแนะนำผู้ที่สนใจอาหารเพื่อสุขภาพด้วย ซึ่งจะเน้นให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ คิดและพัฒนาสูตรอาหาร ปัจจุบันคุณออมทำงานในหน่วยงานภาครัฐ โดยปฏิบัติงานและศึกษาเจาะลึกเกี่ยวกับ "อาหารหรือโภชนาการของผู้สูงอายุ" โดยเฉพาะ โดยส่วนตัวแล้วคุณออมมีความสนใจด้านสุขภาพเป็นพิเศษ เพราะเชื่อว่าการมีสุขภาพที่ดีต้องเริ่มต้นจาก "อาหาร" จึงเลือกศึกษาถึงความสำคัญของอาหารแต่ละชนิด รวมถึงอาหารที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อตัวโรค โปรตีนสำหรับผู้ป่วย ฯลฯ เพราะเมื่อเราเข้าใจถึงอาหารและวัตถุดิบต่าง ๆ มากขึ้น เราจะรู้จักการกินอาหารให้เป็นยา โดยไม่ต้องกินยาเป็นอาหาร คุณออมจึงอยากแบ่งปันถึงเคล็บลับหรือแนวทางการเลือกกินอาหารที่เหมาะสมในแต่ละบุคคล เพื่อช่วยส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีและร่างกายที่แข็งแรง
อ่านจบแล้ว อย่าลืมแชร์บทความนี้ ให้คนที่คุณรักกันด้วยนะค๊าา ขอบคุณมากค่ะ
หมายเหตุ: คำแนะนำด้านล่างเป็นเพียงคำแนะนำเบื้องต้น สภาวะสุขภาพแต่ละท่านต่างกันไป แนะนำให้ปรึกษาแพทย์ร่วมด้วย อาจใช้ฉลากที่อยู่ในอินเตอร์เนต นำไปปรึกษาแพทย์ร่วมด้วย
– เพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิต้านทานในร่างกาย
**ปกติผู้ป่วยโรคไต ควรได้รับโปรตีนคุณภาพดี ที่เป็นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันและไข่ขาว
แบบคำร้องการใช้สิทธิ์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
มีเคซีน (โปรตีนจากนม), ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง และผลิตภัณฑ์จากปลา
เป็นสูตรอาหารที่มีส่วนผสมของกลูตามีน อาร์จีนีน และน้ำมันปลา
หากไม่พบผลิตภัณฑ์ที่กำลังมองหา สามารถ ส่งคำร้องขอเพิ่มในรายการได้
– ผู้ป่วยเรื้อรัง และคนที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค เช่น ผู้ป่วยมะเร็ง